top of page
banner-02.png

มีหลายคณะมาร่วมดูแลความเข้มแข็งแบบสหศาสตร์ ได้แก่

คณะนิติศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
คณะรัฐศาสตร์ คณะจิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย

วัน-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน

ภาคการศึกษาต้น      : สิงหาคม - ธันวาคม

ภาคการศึกษาปลาย  : มกราคม - พฤษภาคม

ภาคฤดูร้อน              : มิถุนายน - กรกฎาคม

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • สําเร็จปริญญาบัณฑิตทุกสาขาวิชา

  • คุณสมบัติอื่น ๆ เป็นไปตามประกาศ ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบ เป็นปี ๆ ไปหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้

จํานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต

ระยะเวลาการศึกษา 2 ปี

จํานวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน

  • รายวิชาบังคับ

  • รายวิชาเลือก

24 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

18 หน่วยกิต

จํานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์

12 หน่วยกิต

จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร

36 หน่วยกิต

รายวิชาบังคับ 6 หน่วยกิต

2029501

2029502

2029503

การจัดการภัยพิบัติ

Disaster Management

วิธีวิทยาการวิจัยเชิงสหสาขาวิชา

Interdisciplinary Research Methodology

สัมมนาทางการจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ

Seminar in Risk and Disaster Management

3 หน่วยกิต

2 หน่วยกิต

 

1 หน่วยกิต

รายวิชาเลือก 18 หน่วยกิต

2029504


2029505

 

2029506

 

2029507

 

 

2101654

 

2101659

 

2104588

 

2104559

 

2107532

 

 

2108628

 

2108630

 

2112672

 

2112681

 

2307516

 

2307517

 

2403630

 

2503647

 

 

2504603

 

2506634

 

 

 

2800512

 

2900605

 

3000789*

 

3400697

 

3600606

 

3802603

 

 

2029811

การจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉิน

Emergency Management

หัวข้อพิเศษทางการจัดการภัยพิบัติ 1

Special Topics in Disaster Management I

หัวข้อพิเศษทางการจัดการภัยพิบัติ 2

Special Topics in Disaster Management II

การบรรเทาและปรับตัวต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลง

สภาพภูมิอากาศ

Climate Change Mitigation and Adaptation

วิศวกรรมเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติ

Engineering for Disaster Mitigation

วิทยาการโลจิสติกส์ในการจัดการภัยพิบัติ

Logistics for Disaster Management

การจัดการภัยพิบัติและเทคโนโลยี

Disaster Management and Technology

การบริหารความเสี่ยงสําหรับอุตสาหกรรม

Risk Management for Industry

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมสําหรับการจัดการภัยพิบัติ

Environmental Engineering for Disaster

Management

การสํารวจระยะไกลด้วยเรดาร์

Radar Remote Sensing

การสํารวจระยะไกลและจีไอเอส

Remote Sensing and GIS

วิศวกรรมระบบแหล่งน้ํา

Water Resources Systems Engineering

วิศวกรรมเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติทางน้ำ

Engineering for Water Disaster Mitigation

การบรรเทาภัยพิบัติจากดินถล่ม

Landslide Disaster Mitigation

การบรรเทาภัยพิบัติจากน้ำท่วม

Flood Disaster Mitigation

ความเสี่ยงและอารมณ์ในสังคม

Risk and Emotions in Society

การวางแผนสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อบรรเทาภัยพิบัติ

Urban Environmental Planning for Disaster

Mitigation

การวางแผนภูมิสถาปัตยกรรมเพื่อบรรเทาพิบัติภัย

Landscape Planning for Disaster Mitigation

การฝึกปฏิบัติการวางแผนลดความเสี่ยงและการ

เตรียมพร้อมรับภัยพิบัติชุมชน

Workshop on Community Disaster Risk

Reduction and Response Preparedness

การสื่อสารภัยพิบัติ

Disaster Communication

การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ของภัยพิบัติ

Disaster Economic Assessment

การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บและผู้ประสบภัยจากภัยพิบัติ

Medical Management in Disaster

กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการภัยพิบัติ

Law in Disaster Management

การจัดการทางสุขภาพแก่ผู้ประสบภัย

Health Management for Disaster Survivors

การฟื้นฟูสภาพจิตใจแก่ผู้ประสบภัยพิบัติ

Psychological Rehabilitation for Disaster

Survivors

วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก2)

Thesis

3 หน่วยกิต

 

1 หน่วยกิต

 

2 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

 

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

3 หน่วยกิต

 

 

12 หน่วยกิต

นอกจากนี้ นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาอื่น ๆ ที่เปิดสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

คำอธิบายรายวิชา

2029501 การจัดการภัยพิบัติ  3 หน่วยกิต

ภัยธรรมชาติชนิดสําคัญและภัยพิบัติจากการกระทําของมนุษย์ กลไกของภัยธรรมชาติ ขั้นตอน ของการจัดการภัยพิบัติ แนวความคิดของการเตรียมความพร้อมรับมือและความสามารถใน การฟื้นตัวจากภัยพิบัติ แนวคิดการจัดการภัยพิบัติบนพื้นฐานของชุมชน ระบบเตือนภัย ล่วงหน้าสําหรับภัยพิบัติธรรมชาติที่สําคัญ แผนที่เสี่ยงและความเปราะบาง หลักการสําหรับ การจัดการความเสี่ยงจากภัยพิบัติ การประเมินความเสี่ยงจากภัยพิบัติ แผนการจัดการเพื่อ ความต่อเนื่องทางธุรกิจ การสื่อสารความเสี่ยงภัยพิบัติ มาตรการบรรเทาภัยด้วยวิธีด้าน โครงสร้างและไม่ใช้โครงสร้าง การสร้างศักยภาพ การเตรียมความพร้อมการตอบสนองต่อภาวะ ฉุกเฉิน ครอบคลุมแง่มุมของรัฐบาลจนถึงชุมชนท้องถิ่น การฟื้นฟูภายหลังการเกิดเกิดภัยพิบัติ กรณีศึกษาชุมชน/หน่วยงานต้นแบบของการปฏิบัติใน การจัดการภัยพิบัติท้ังในและต่างประเทศ

Disaster Management

DISASTER MGT

Major types of natural disasters and man-induced disasters; mechanism of natural disasters; phases of disaster management; concept of disaster resilience; community based disaster risk management (CBDRM); early warning systems for major natural hazards; risk and vulnerability maps; principles for disaster risk management; disaster risk assessment; business continuity plan; disaster risk communication and consultation; structural and non-structural mitigation measures, capacity building, preparedness, emergency response covering viewpoints of governments to local communities; disaster recovery; case studies of good practice community/organization in disaster management (Thai and international case).

2029502 วิธีวิทยาการวิจัยเชิงสหสาขาวิชา  2 หน่วยกิต

กระบวนการทํางานวิจัยเชิงบูรณาการความรู้สหสาขาวิชาที่มุ่งเน้นเข้าใจเชิงลึกในเรื่องพื้นที่ที่ ได้รับผลกระทบจากภัยพิบัติและการจัดการภัยพิบัติ การเตรียมความพร้อมงานวิจัย (ความสําคัญของปัญหาและขอบเขตงานวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมูลอ้างอิง) เสนอ วิธีการในการดําเนินงานในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ (การออกแบบการทดลอง เทคนิคการ วิเคราะห์ผลทางสถิติ เกณฑ์การตรวจสอบ การอภิปรายกลุ่ม การสัมภาษณ์ในเชิงลึก ภาพประกอบคําอธิบาย) การนําเสนอผลงานวิจัย (บทความและการนําเสนอผลงานแบบ ปากเปล่า)

Interdisciplinary Research Methodology

INTDIS RES METHOD

Interdisciplinary research processes geared toward an in-depth understanding of disaster-affected areas and disaster management, starting from preparation of research (framing a feasible research question, literature review, reference management); selection of appropriate qualitative and quantitative methods (namely, experimental design, statistical technique, PAR, focus-group discussion, in-depth interview, photo elucidation); presentation of research findings (paper critique and oral presentation).

2029503 สัมมนาทางการจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ  1 หน่วยกิต

การอภิปรายเชิงบูรณาการความรู้สหสาขาวิชาในหัวข้อและประเด็นพิเศษที่เกี่ยวข้องกับความ เสี่ยงและภัยพิบัติ การวิเคราะห์งานวิจัยด้านภัยพิบัติที่อยู่ในความสนใจในปัจจุบัน

Seminar in Risk and Disaster Management

SEM RISK DIS MGT

Discussion on special topics and issues related to risk and disaster management integrating various disciplines; analysis of current disaster research work.

2029504 การจัดการในสถานการณ์ฉุกเฉิน  3 หน่วยกิต

การตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน การจัดการวิกฤต ระบบบัญชาการ การอพยพมวลชน ระบบปฏิบัติการฉุกเฉิน การกู้ภัยและการให้ความช่วยเหลือ

Emergency Management

EMER MANAGEMENT

Emergency response; crisis management; incident command system; mass evacuation; emergency operation system; rescue and relief.

2029505 หัวข้อพิเศษทางการจัดการภัยพิบัติ1  3 หน่วยกิต

หัวข้อพิเศษและเทคโนโลยีใหม่ทางการจัดการภัยพิบัติ 1

Special Topics in Disaster Management I

SPTOPDISMGTI

Current special topics and new technologies in disaster management

2029506 หัวข้อพิเศษทางการจัดการภัยพิบัติ2 2หน่วยกิต

หัวข้อพิเศษและเทคโนโลยีใหม่ทางการจัดการภัยพิบัติ 2

Special Topics in Disaster Management II

SP TOP DIS MGT II

Current special topics and new technologies in disaster manageme

2029507 การบรรเทาและปรับตัวต่อปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ  3 หน่วยกิต

ความเชื่อมโยงของปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศกับการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี/ นโยบายที่เหมาะสมในการลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากอาคารที่พักอาศัย ภาคการ ขนส่ง การจัดซื้อจัดจ้างหรือแนวทางปฏิบัติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความเปราะบางทาง สังคม การตั้งรับ ปรับตัวกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และผลกระทบจาก ปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่น เช่นความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพอากาศและน้ํา

Climate change mitigation and adaptation

CLIM MIT ADAP

Linkages between climate change and other pressing priority such as technological change and substitution that reduce the emission of GHGs into the atmosphere; direct (and/or indirect) emissions of GHGs and consequently facilitate improved performance in energy management of organization’s buildings, transport, procurement and related best practices; community vulnerability; robustness; resilience and adaptation to climate change; other environmental problems such as biodiversity, air quality , water supply and water quality.

2029811 วิทยานิพนธ์ 12หน่วยกิต

Thesis

THESIS

2101654 วิศวกรรมเพื่อการบรรเทาภัยพิบัติ  3 หน่วยกิต

ความรู้เบื้องต้นในการจัดการและรับมือภัยพิบัติในทางวิศวกรรม ภัยพิบัติแผ่นดินไหว (ดูกรณีศึกษาและบทเรียนจากเหตุการณ์ที่ผ่านมา) หลักการพื้นฐานการออกแบบโครงสร้าง ต้านทานแผ่นดินไหว ภัยพิบัติ สึนามิ (ด้านการจําลองสึนามิ ระบบเตือนภัยและการ เตรียมพร้อม) ภัยพิบัติดินถล่ม (ศึกษาสาเหตุและการบรรเทาภัยพิบัติ) ความเสี่ยงภัยในทาง วิศวกรรมปฐพี การทัศนศึกษาเพื่อสํารวจพื้นที่เสี่ยงภัยพิบัติ

Engineering for Disaster Mitigation

ENG DISAS MITIGAT

Introduction - engineering for disaster resilience; earthquake disasters – case studies and lessons learnt; seismic design concept; tsunami disaster – modeling,

Screen Shot 2565-02-13 at 23.41 1.png
Screen Shot 2565-02-13 at 23.41 2.png

คู่มือนิสิต

หลักสูตรการจัดการความเสี่ยงและภัยพิบัติ

ป้องกันไว้ก่อน แก้ไขได้เร็ว ลดความสูญเสีย

Screenshot 2567-07-26 at 22.17.28.png
Screenshot 2567-07-26 at 22.17.51.png

เอกสารปฐมนิเทศ

ปีการศึกษา 2567

ณ ห้อง 803 อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (จามจุรี10)

bottom of page